ประเด็นท้าทายเชิงกลยุทธ์
           1.  การพัฒนาคุณภาพบริการเพื่อสร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการ
           2.  การจัดระบบการดูแลโรคที่เป็นปัญหาท้องถิ่นที่สอดคล้องกับบริบท
          3.  การพัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ
        เป้าประสงค์
            1.  จัดบริการทางการแพทย์ระดับ F2 ที่มีคุณภาพเหมาะสม
            2.  ประชาชนมีทักษะในการจัดการสุขภาพให้ปลอดภัยจากภาวะสุขภาพ
  1. การบริหารจัดการทรัพยากรที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
    บุคลากรมีคุณภาพชีวิตที่สมดุล
       วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์
  1. เพื่อจัดบริการที่ได้มาตรฐานมีคุณภาพคลอบคลุม 4 มิติ ตามบริบท ระดับ F2
    เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดโรคจากภาวะคุกคามด้านสุขภาพ
    เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ
    เพื่อให้บุคลากรมีคุณภาพชีวิตที่ดี
        กลยุทธ์ (Strategy)
  1. พัฒนาระบบบริการทางการแพทย์ในกลุ่มโรคสำคัญที่เหมาะสมตามบริบท
    พัฒนาระบบบริการรับและส่งต่อผู้ป่วย
    พัฒนาระบบคุณภาพให้ได้มาตรฐาน
    ขยายการออกเวชศาสตร์เชิงรุกชุมชนที่ รพ.สต.ในการตรวจผู้ป่วยนอกโรคเรื้อรัง (DM/HT)
    สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้
    ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนและภาคีเครือข่ายมีความสามารถในการดูแลภาวะสุขภาพ
    พัฒนาระบบบริหารจัดการการเงินการคลังให้มีประสิทธิภาพ
    พัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล
    พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพ
 
แผนกลยุทธ์โรงพยาบาลยางสีสุราช จังหวัดมหาสารคาม พ.ศ.2561-2565
ประเด็นท้าทายเชิงกลยุทธ์ เป้าประสงค์ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ กลยุทธ์ ผู้รับผิดชอบ
1.การพัฒนาคุณภาพบริการเพื่อสร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการ 1.จัดบริการทางการแพทย์ระดับ F2 ที่มีคุณภาพเหมาะสมตามบริบท 1.เพื่อจัดบริการที่ได้มาตรฐานมีคุณภาพคลอบคลุม 4 มิติ
ตามบริบท ระดับ F2
1.พัฒนาระบบบริการทางการแพทย์ในกลุ่มโรคสำคัญที่เหมาะสมตามบริบท นพ.อรรถวุฒิ
2. พัฒนาระบบบริการรับและ
ส่งต่อผู้ป่วย
ชวัลลักษณ์
3.พัฒนาระบบคุณภาพให้ได้มาตรฐาน กาญจนา
เยาวพัชร
4.ขยายการออกเวชศาสตร์เชิงรุกชุมชนที่ รพ.สต.ในการตรวจผู้ป่วยนอกโรคเรื้อรัง (DM/HT) นพ.ชัยวุฒิ
2. การจัดระบบการดูแลโรคที่เป็นปัญหาท้องถิ่นที่สอดคล้องกับบริบท
 
2. ประชาชนมีทักษะในการจัดการสุขภาพให้ปลอดภัยจากภาวะสุขภาพ
 
2.เพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดโรคจากภาวะคุกคามด้านสุขภาพ
 
5. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนและภาคีเครือข่ายมีความสามารถในการดูแลภาวะสุขภาพ อะนุตย์
6.สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ กาญจนา
 
 
 
แผนกลยุทธ์โรงพยาบาลยางสีสุราช จังหวัดมหาสารคาม พ.ศ.2561-2565
ประเด็นท้าทายเชิงกลยุทธ์ เป้าประสงค์ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ กลยุทธ์ ผู้รับผิดชอบ
3. การพัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ 3.การบริหารจัดการทรัพยากรที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 3.เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ 7.พัฒนาระบบบริหารจัดการการเงินการคลังให้มีประสิทธิภาพ สุดตา
4.บุคลากรมีคุณภาพชีวิตที่สมดุล
 
4.เพื่อให้บุคลากรมีคุณภาพชีวิตที่ดี 8.พัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล สุดตา
ทิพาพร
9.พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพ มยุรฉัตร
 
 
แผนกลยุทธ์โรงพยาบาลยางสีสุราช จังหวัดมหาสารคาม พ.ศ.2561-2565 (เชื่อมโยงสู่ตัวชี้วัด)
กลยุทธ์ วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด (KPI) เกณฑ์ ผู้รับผิดชอบ
1.พัฒนาระบบบริการทางการแพทย์ในกลุ่มโรคสำคัญที่เหมาะสมตามบริบท เพิ่มศักยภาพการบริการในกลุ่มโรคสำคัญ -ร้อยละการ readmit / revisit    <10/<2 นพ.อรรถวุฒิ
    - ร้อยละการวินิจฉัยโรค MI ได้ถูกต้อง 80%  
    - ร้อยละผู้ป่วย stroke ได้รับการส่งต่อภายใน 2 ชม. 80%  
    -ระยะเวลาตั้งแต่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาจนได้รับการวินิจฉัย severe sepsis/septic shock ภายใน 2 ชม. 80%  
    - ร้อยละการตกเลือดหลังคลอด <1  
    - ร้อยละการ Readmission  COPD (ภายใน 28 วัน) <5  
    - -ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสม HBA1C<7mg/dl >50  
    - ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูง admission ด้วย Hypertension urgency 3%  
    - อัตราการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุ 15-19ปี ไม่เกิน50
ต่อพัน ปชก.
 
    -ร้อยละผลสำเร็จของการรักษาวัณโรค ≥95%  
    -ร้อยละทารกแรกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม <7  
    -ร้อยละผู้ป่วย stroke ที่ได้รับการเยี่ยมมี Barthel Index เพิ่มขึ้น มากกว่า60 คะแนน 50%  
 
 
แผนกลยุทธ์โรงพยาบาลยางสีสุราช จังหวัดมหาสารคาม พ.ศ.2561-2565 (เชื่อมโยงสู่ตัวชี้วัด)
กลยุทธ์ วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด (KPI) เกณฑ์ ผู้รับผิดชอบ
2.พัฒนาระบบรับส่งต่อผู้ป่วย เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการส่งต่อที่สะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ -ร้อยละการส่งต่อผู้ป่วยที่ได้คุณภาพโดยประเมินจากรพ.ที่รับผู้ป่วย 90 ชวัลลักษณ์
 
    -ร้อยละผู้ป่วยเข้า stroke fast tract 80  
    -ร้อยละผู้ป่วย STEMI ได้รับการส่งต่อภายใน 30 นาที หลังจากได้รับการวินิจฉัย >80  
    -ร้อยละผู้ป่วย Septic shock /sever sepsis ได้รับการส่งต่อ 100  
    -ร้อยละผู้ป่วย Appendicitis  คะแนนAlvarado score >7 ได้รับการส่งต่อ 100  
3.พัฒนาระบบคุณภาพให้ได้มาตรฐาน จัดบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ผ่านการประเมิน HA ผ่าน กาญจนา
เยาวพัชร
    ผ่านการประเมิน QA ผ่าน  
    ผ่านการประเมิน LA ผ่าน  
    ผ่านการประเมิน HA ยาเสพติด ผ่าน  
    ผ่านการประเมิน คุณภาพ X ray ผ่าน  
    ผ่านการประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม ระดับ 5  
 
แผนกลยุทธ์โรงพยาบาลยางสีสุราช จังหวัดมหาสารคาม พ.ศ.2561-2565 (เชื่อมโยงสู่ตัวชี้วัด)
กลยุทธ์ วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด (KPI) เกณฑ์ ผู้รับผิดชอบ
4.ขยายการออกเวชศาสตร์เชิงรุกชุมชนที่ รพ.สต.ในการตรวจผู้ป่วยนอกโรคเรื้อรัง (DM/HT) เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสต.ในการดูแลผู้ป่วยนอกโรคเรื้อรัง (DM/HT) -สัดส่วนการให้บริการผู้ป่วยนอกโรค DM/HT โดยแพทย์ออกเวชศาสตร์ชุมชน รพ.สต.เทียบกับโรงพยาบาลแม่ข่าย 50:50 นพ.ชัยวุฒิ
    -ร้อยละผู้ป่วยเรื้อรังที่ได้รับการเยี่ยมบ้าน 80  
    -ร้อยละความพึงพอใจการบริการเวชศาสตร์ชุมชน 90  
5. สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้
 
ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างผลงานวิชาการ : นวัตกรรม CQI งานวิจัย ทุกระดับ -จำนวนผลงานวิชาการ 10 เรื่อง/ปี กาญจนา
6.ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนและภาคีเครือข่ายมีความสามารถในการดูแลภาวะสุขภาพ ประชาชนสามารถพึ่งตนเองได้ด้านสุขภาพ -ร้อยละตำบลจัดการสุขภาพ 80% อะนุตย์
    -ร้อยละหมู่บ้านต้นแบบด้านสุขภาพ 80%  
    -ร้อยละการเกิดผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ <2%  
    -ร้อยละการเกิดผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ <2%  
    -จำนวนผู้ป่วย Stoke รายใหม่ ลดลง  
    -อัตราผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วง ไม่เกินค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง  
 
แผนกลยุทธ์โรงพยาบาลยางสีสุราช จังหวัดมหาสารคาม พ.ศ.2561-2565 (เชื่อมโยงสู่ตัวชี้วัด)
กลยุทธ์ วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด (KPI) เกณฑ์ ผู้รับผิดชอบ
    -อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของค่ามัธยฐานของ อำเภอ
5 ปี ย้อนหลัง
อะนุตย์
7. พัฒนาระบบบริหารจัดการการเงินการคลังให้มีประสิทธิภาพ เพื่อบริหารทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด -อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน (current ratio) ≥1.50 สุดตา
ศุภลักษณ์
    -อัตราส่วนสินทรัพย์คล่องตัว (quick ratio) ≥1  
    - ค่า CMI เฉลี่ย 0.5  
8.พัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล พัฒนาระบบบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลให้มีประสิทธิภาพ - ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากร 80% สุดตา
ทิพาพร
    -.ร้อยละบุคลากรได้รับการพัฒนาในกลุ่มโรคสำคัญ 100%  
    - จำนวนข้อร้องเรียนด้านบริการตาม
มาตร 41 (พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพ)
0  
    - จำนวนข้อร้องเรียน ลดลง  
9.พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้อง ทันเวลา และรักษาความลับ - ร้อยละความถูกต้องของข้อมูลการให้รหัสโรค 95 มยุรฉัตร
    -ร้อยละความสมบูรณ์เวชระเบียน 95%  
    -จำนวนครั้งที่ระบบแม่ข่ายไม่สามารถทำงานได้ภายใน 30 นาทีในรอบ 1 ปี <5ครั้ง